ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล[1] หรือ การคิดตามความปรารถนา (อังกฤษ: Wishful thinking) เป็นการตั้งความเชื่อและการตัดสินใจ ตามสิ่งที่เราชอบใจ แทนที่จะตามหลักฐาน เหตุผล หรือความเป็นจริง เป็นผลของการแก้ความขัดแย้งกันระหว่างความเชื่อและความต้องการ[2] งานศึกษาต่าง ๆ แสดงผลเหมือน ๆ กันว่า เมื่อตัวแปรอื่น ๆ เท่ากัน เราจะพยากรณ์ผลที่ดีน่าชอบใจว่า มีโอกาสเกิดขึ้นมากกว่าผลร้าย แต่ก็มีงานวิจัยในปี ค.ศ. 2013 ที่แสดงว่า ในบางสถานการณ์เช่นเมื่อภัยสูงขึ้น ปรากฏการณ์ตรงกันข้ามจะเกิดขึ้น[3]
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
Complaints,Complaints
Complaints,Complaints โดยทั่วไปงานบริการต่างๆ ย่อมพบว่าบริษัทไม่สามารถให้บริการให้ลูกค้าพอใจครบทุกคนได้ มีลูกค้าบางส่วนที่ไม่พอใจ ซึ่งในส่ว...

-
The Art of Advertising In 1956, Gene Moore, one of New York City’s most-respected window dressers, needed a way to transform Tiffany &...
-
ความปรารถนาหรือความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล [1] หรือ การคิดตามความปรารถนา ( อังกฤษ : Wishful thinking ) เป็นการตั้ง ความเชื่อ และการตัดส...
-
Take My Advice คือ คำแนะนำ Being an 80s child, I had this phase of badges! How many of you remember that trend of pinning those cool badges...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น